มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ 2565
2. แผนกเวชระเบียน จัดให้มีอุปกรณ์การเก็บเวชระเบียน การเก็บเวชระเบียน และการสำรองข้อมูลตามที่กำหนด
3. แผนกผู้ป่วยนอก มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
4. แผนกผู้ป่วยใน จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
5. แผนกผู้ป่วยฉุกเฉิน จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
6. แผนกเภสัชกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
7. แผนกกายภาพบำบัด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
8. แผนกเทคนิคการแพทย์ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
9. แผนกรังสีวิทยา จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
10. แผนกผ่าตัด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
11. แผนกสูติกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
13. ระบบควบคุมการติดเชื้อ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
14. หอผู้ป่วยหนัก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
15. ห้องให้การรักษา จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
16. ห้องผ่าตัดเล็ก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
17. ห้องตรวจภายในและขูดมดลูก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
18. ห้องทารกหลังคลอด จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
19. ห้องทันตกรรม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
20. ห้องไตเทียม จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
21. ห้องซักฟอก จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
22. ห้องโภชนาการ จัดให้มีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
24. ยานพาหนะสำหรับให้บริการนอกโรงพยาบาล ต้องมีอุปกรณ์พร้อมให้บริการครบถ้วนตามที่กำหนด
1.1 มีแผนแม่บท (แผนพัฒนาและวางผังโรงพยาบาลด้านอาคารและสภาพแวดล้อม)
3.1 เข้าถึงแผนกอุบัติเหตุและฉุกเฉินได้สะดวกรวดเร็ว
3.2 สะอาดเรียบร้อยปลอดภัยและอำนวยความสะดวก
3.3 มีสถานที่ให้บริการเป็นสัดส่วนและได้มาตรฐาน
3.4 มีบริเวณพักรอของผู้รับบริการที่เพียงพอ
3.5 มีสถานที่เอื้ออำนวยความสะดวกต่อผู้สูงอายุ คนพิการและผู้เสื่อมสมรรถภาพทางกาย
3.8 ห้องผ่าตัดใหญ่ มีขนาดพื้นที่ห้องผ่าตัดใหญ่ไม่น้อยกว่า 20 ตารางเมตร และความสูงไม่ต่ำกว่า 3 เมตร
3.10 การแพทย์ฉุกเฉินและการส่งต่อ มีสถานที่ให้บริการทางการ แพทย์ฉุกเฉินที่ได้มาตรฐาน ตามเกณฑ์ที่กำหนด
4.2 มีป้ายจราจรภายในโรงพยาบาล ติดตั้งในตำแหน่งที่เหมาะสม สามารถมองเห็นได้ชัดเจน (ประเมินเฉพาะบริเวณส่วนให้การรักษาพยาบาล)
4.3 มีป้ายบอกทางไปยังอาคาร/แผนกต่างๆ มองเห็นได้ชัดเจน พร้อมระบบไฟส่องสว่างที่เหมาะสม
6.1 แบ่งขอบเขตของทางเดินเท้าออกจากเส้นทางจราจรของยานพาหนะอย่างชัดเจน
9.1 แยกพื้นที่จอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์ออกจากแนวทางวิ่งของรถ รวมทั้งแสดงเครื่องหมายทิศทางอย่างชัดเจน
9.2 มีที่จอดรถสำหรับผู้พิการอยู่ใกล้ทางเข้าอาคารผู้ป่วยนอก และมีป้ายหรือเครื่องหมายแสดงอย่างชัดเจน
11.1 มีห้องน้ำ-ส้วม สำหรับผู้พิการ-ผู้สูงอายุ
11.2 มีราวพยุงตัวติดตั้งในตำแหน่งที่เหมาะสม
11.3 มีห้องน้ำสำหรับเด็กเล็ก เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด
12.1 มีความกว้างของบันได และชานพักที่สะดวกต่อการใช้งานและไม่มีสิ่งกีดขวาง
12.2 มีตัวเลขระบุชั้นอยู่ภายในตัวบันไดที่มองเห็นได้ชัดเจน
13.2 เคาน์เตอร์สำหรับพยาบาลเฝ้าระวังสังเกตการณ์ TOP เคาน์เตอร์ระดับบนไม่ควรสูงเกินกว่า 90 เซนติเมตร จากระดับพื้นห้อง เพื่อไม่ให้บังสายตาในขณะเฝ้าดูผู้ป่วย
13.3 ห้องตรวจของแพทย์ มีอ่างล้างมือสำหรับแพทย์และเจ้าหน้าที่อย่างน้อย 2 ห้องตรวจ ต่อ 1 อ่าง
13.5 มีป้ายติดหน้าห้องหรือหน้าแผนกบริการ ในตำแหน่งที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจน
13.9 แผนกเภสัชกรรม มีสถานที่ และโต๊ะสำหรับเตรียมยา – ผสมยา แยกเป็นสัดส่วนจากที่จัดยา
13.11 มีตู้/ชั้นเก็บยาหรือเวชภัณฑ์ที่เพียงพอและเหมาะสม
13.12 มีสถานที่ให้คำปรึกษาแนะนำด้านยาที่เป็นสัดส่วน
13.13 กรณีมีการเตรียมยาสำหรับผู้ป่วยเฉพาะรายในโรงพยาบาล ให้มีสถานที่สำหรับผู้ป่วยเฉพาะราย
13.14 แผนกรังสีวินิจฉัย มีป้ายคำเตือน “ผู้ป่วยมีครรภ์โปรดแจ้งเจ้าหน้าที่ทราบ
13.15 มีห้องเปลี่ยนเสื้อผ้าสำหรับผู้ป่วยเป็นสัดส่วนและมิดชิด
13.16 การตรวจพิเศษทางรังสีวิทยาในระบบทางเดินอาหาร ต้องมีห้อง สุขาติดกับห้องตรวจ
13.17 มีป้ายสัญลักษณ์แสดงเขตรังสีรักษาและไฟสัญญาณแสดงขณะใช้งานเครื่องกำเนิดรังสี
13.19 แผนกไตเทียม มีสถานที่และเฟอร์นิเจอร์สำหรับพักคอยของญาติผู้ป่วย โดยแยกเป็นสัดส่วนต่างหากจากบริเวณส่วนของผู้ป่วย *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 13.19)
13.20 แผนกไตเทียม บริเวณตั้งเตียงผู้ป่วยมีระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1.10 เมตรและความกว้างของทางเดินระหว่างปลายเตียง ของสองฟากเตียงไม่น้อยกว่า 2 เมตร *** (รพ.ระดับ F ไม่ต้องประเมินข้อ 13.20)
13.21 ห้องฟอกไตเทียม มีขนาดของห้องบริการฟอกเลือดที่สัมพันธ์กับจำนวนเตียง และอุปกรณ์และพื้นที่ใช้สอยเหมาะสมในการปฏิบัติงานที่ได้มาตรฐาน โดยมีพื้นที่ไม่ต่ำกว่าสี่ตารางเมตรต่อหนึ่งจุดบริการ โดยส่วนที่แคบที่สุดไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร เพื่อให้มีพื้นที่สามาร
13.22 มีพื้นที่เตรียมน้ำบริสุทธิ์ พื้นที่ล้างตัวกรองแผนกบริการเทคนิคการแพทย์
13.23 มีสถานที่เก็บสิ่งส่งตรวจเหมาะสม สะดวกต่อผู้รับบริการ
13.25 มีการเก็บรักษาวัตถุหรือสารเคมีและสารไวไฟ โดยจัดไว้เป็นหมวดหมู่ มีป้ายและฉลากแสดงถูกต้องครบถ้วน
13.28 แผนกบริการแพทย์แผนจีน เตียงสำหรับนวดหรือฝังเข็ม มีขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า 0.70 เมตร ความยาวไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร ความสูงไม่ต่ำกว่า 0.70 เมตร และระยะห่างระหว่างเตียงไม่น้อยกว่า 1 เมตร
13.29 แผนกบริการการแพทย์แผนจีน เตียงต้องมีลักษณะมั่นคงแข็งแรงตามมาตรฐานการประกอบโรคศิลปะสาขาแพทย์แผนจีนกำหนด
15.1 มีแผนงานในการเฝ้าระวังให้อาคารมีสภาพพร้อมใช้งานและมั่นคงแข็งแรง"
15.2 มีการตรวจสอบสภาพอาคารและบันทึกการตรวจสภาพอาคารพร้อมมีรายงานผลต่อหัวหน้าหน่วยงานหรือผู้บริหารโรงพยาบาล
15.3 มีการตรวจสอบอาคารตามที่กฎหมายกำหนด
16.1 มีแผนผังระบบไฟฟ้ากำลัง (แนวแรงสูงและแรงต่ำ ตำแหน่งหม้อแปลง ตำแหน่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้า แสดงการจ่ายไฟระบบไฟฟ้า ภายนอกอาคาร)
16.2 แนวการปักเสาพาดสายไฟฟ้าเป็นระเบียบเรียบร้อยและปลอดภัย
16.5 มีกระแสไฟฟ้าจ่ายให้กับอุปกรณ์ที่ใช้กับผู้รับบริการอย่างเพียงพอตลอด 24 ชั่วโมง
16.7 ตู้สวิทช์ตัดตอน (PANEL BOARD) มีที่ว่างเพื่อปฏิบัติงาน สามารถเข้าตรวจสอบได้ง่ายและอยู่ในสภาพที่ยึดติดแน่นมั่นคงแข็งแรง
16.8 มีระบบการต่อลงดินของหม้อแปลงไฟฟ้า และแผงจ่ายไฟฟ้าหลัก (ตู้ MDB)
16.9 มีระบบการต่อลงดินของแหล่งจ่ายไฟฟ้าแยกต่างหาก เช่น เครื่อง กำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน การติดตั้งต้องให้สอดคล้องกับ ATS 3P หรือ ATS 4P
16.10 การต่อลงดินในพื้นที่ที่ไม่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 0) และพื้นที่ที่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 1) สายดินติดตั้งต้องเป็นแบบแยก (TN–S)
16.11 การต่อลงดินในพื้นที่ที่มีการใช้เครื่องมืออุปกรณ์ไฟฟ้า (กลุ่ม 2) (ยกเว้นกลุ่ม 1) เช่น บริเวณห้องผ่าตัด,ห้อง ICU ฯลฯ ซึ่งการ จ่ายไฟฟ้าที่ไม่ต่อเนื่องสามารถก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้ สายดินติดตั้งเป็นแบบแยกออกจากระบบ (IT)
17.2 ภายในอาคารมีค่าความเข้มของแสงสว่างพอเพียงและเหมาะสมต่อพื้นที่ใช้งาน
17.3 ภายนอกอาคารมีอุปกรณ์ป้องกันการใช้กระแสไฟฟ้าเกินและป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่ว
18.7 มีเครื่องสำรองไฟฟ้าฉุกเฉิน (UPS) จ่ายให้กับอุปกรณ์ทางการ แพทย์ที่สำคัญสำหรับวงจรช่วยชีวิตซึ่งไม่สามารถหยุดได้ มีการใช้อย่างต่อเนื่องเพียงพอและเหมาะสม โดยอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน
18.8 บันไดทางหนีไฟทางสัญจรห้องเครื่องและหน่วยบริการอื่นๆ ต้องมีระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินซึ่งใช้พลังงานจากแบตเตอรี่เพิ่มเติม ตามความเหมาะสมตามมาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉินและ โคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉินของ วสท.
18.9 ระบบนำทางเรืองแสงเพื่อการอพยพหนีภัย (ถ้ามี) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการอพยพหนีภัย เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินให้แก่เจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลและประชาชนตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
20.1 มีการติดตั้งระบบป้องกันการเข้าออก เพื่อป้องกันการเข้าถึงในสถานที่เฉพาะที่ต้องการความปลอดภัย
20.2 มีระบบหรือวิธีการรักษาความปลอดภัยของพยาบาลใน nurse station
23.1 มีผังระบบระบายน้ำ และระบบสุขาภิบาล
23.2 มีระบบระบายน้ำฝนจากอาคารสู่แหล่งระบายน้ำสาธารณะ
23.3 มีการแยกประเภทสำหรับท่อต่างๆ
24.1 มีการแยกประเภทของลิฟต์ตามการใช้งาน ได้แก่ ลิฟต์โดยสาร , ลิฟต์ขนของ , ลิฟต์สำหรับพนักงานดับเพลิง
24.2 มีขนาดและจำนวนเพียงพอต่อการใช้งา
24.3 บริเวณโถงหน้าลิฟต์บรรทุกเตียงคนไข้ ต้องมีพื้นที่สามารถเข็นเปลนอนสวนกันได้
24.4 กำหนดให้มีลิฟต์สำหรับผู้พิการและทุพพลภาพสามารถใช้งานได้
24.5 บริเวณโถงหน้าลิฟต์และภายในห้องโดยสาร ต้องสะอาด มีระบบระบายอากาศและแสงสว่างภายในห้องโดยสารที่เหมาะสม
24.6 กรณีไฟฟ้าดับ จัดให้มีระบบ ARD (Automatic Rescue Device) เพื่อให้ลิฟท์สามารถเคลื่อนไปเทียบยังชั้นที่ใกล้ที่สุด และประตูลิฟท์จะต้องเปิดออกทันที
1.1 มีนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมที่ชัดเจน
1.2 มีการกำหนดโครงสร้างและอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบในการจัดการสิ่งแวดล้อม
1.3 มีแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อม หรือมาตรการตามนโยบายในการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล พร้อมทั้งมีการส่งเสริมและพัฒนาเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาลอย่างเป็นรูปธรรม
1.4 การเฝ้าติดตามและวัดผลในกิจกรรมซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2.1 จัดให้มีผู้รับผิดชอบในการจัดการมูลฝอย
2.2 มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน
2.4 มีระบบการคัดแยกมูลฝอย ณ แหล่งกำเนิด ตามประเภทของมูลฝอย
2.5 มีการแยกมูลฝอยติดเชื้อระหว่างวัสดุมีคมและวัสดุไม่มีคม ภาชนะมีความคงทน และเหมาะสม
2.6 มีแผนการและวิธีการเก็บขนเคลื่อนย้ายมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
2.7 มีสถานที่พักมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ
2.10 มีบัญชีรายการของวัสดุและของเสียอันตรายที่มีในโรงพยาบาล
2.11 มีข้อปฏิบัติและดำเนินการในการจัดเก็บของเสียอันตรายอย่างปลอดภัย
3.1 มีการบริหารจัดการปริมาณน้ำทิ้งของสถานพยาบาลให้เกิดความเพียงพอ ปลอดภัย กับความสามารถของระบบบำบัดน้ำเสีย
3.3 มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ตามชนิดของระบบบำบัดน้ำเสีย
3.4 ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามคู่มือที่กำหนด
3.6 มีแผนผังแสดงกระบวนการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสียที่เป็นปัจจุบัน
3.7 มีอุปกรณ์เบื้องต้นที่จำเป็นในการดูแล ควบคุม ระบบบำบัดน้ำเสีย
3.9 มีแผนงานการซ่อมบำรุงเครื่องจักรและอุปกรณ์ตามระยะเวลาที่กำหนดเป็นลายลักษณ์อักษร
3.10 มีการตรวจสอบการทำงานของระบบบำบัดน้ำเสีย พร้อมบันทึกผลการตรวจสอบประจำวัน
3.12 มีการตรวจวัดคุณภาพน้ำทิ้งทุกๆ 3 เดือน ตามมาตรฐานหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
4.1 จัดให้มีผู้รับผิดชอบดูแลระบบน้ำอุปโภคและบริโภค
4.2 มีคู่มือกำหนดขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน
4.3 ผู้ปฏิบัติงานทราบขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามคู่มือที่กำหนด พร้อมจดบันทึกผลการปฏิบัติงาน
4.5 มีการตรวจวัดค่าคลอรีนคงเหลือในน้ำประปาประจำวัน และตรวจหาค่าเชื้อโรคประจำเดือน พร้อมบันทึกผลการตรวจสอบ
4.6 มีการจดบันทึกข้อมูลการใช้น้ำประจำวัน
4.7 มีแผนและการดำเนินการระบบการดูแลรักษาถังพักน้ำหรือถังสำรองน้ำ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
4.8 มีการสำรองน้ำอุปโภคและบริโภค ให้เพียงพอในสภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อย 3 วัน
4.2 จัดให้มีการตรวจสุขภาพของบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
4.3 มีการตรวจสอบ ประเมิน ค้นหาความเสี่ยงในระบบวิศวกรรมที่มีความเสี่ยงสูงอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
4.5 มีแนวปฏิบัติฉุกเฉินเมื่อระบบทางด้านวิศวกรรมความเสี่ยงสูง อาทิ เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบก๊าซทางการแพทย์ ระบบสุขาภิบาลหรือระบบอื่นตามบริบทของโรงพยาบาล ไม่สามารถใช้งานได้
7.2 มีการจัดระดับความสำคัญการจ่ายโหลด มีแผนผัง หรือรายละเอียดข้อมูลของระบบการจ่ายไฟฟ้าสำรอง
7.3 มีการทดสอบ ตรวจสอบการทำงานของระบบจ่ายไฟฟ้าสำรองให้พร้อมใช้
7.4 มีการทดสอบ ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์สับเปลี่ยนแหล่งจ่ายไฟ (Transfer switch)
8.1 มีนโยบายความปลอดภัยด้านการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัย มีผู้รับผิดชอบหรือคณะทำงานในการจัดการระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล
8.2 มีการประเมินสถานภาพการจัดการป้องกันและระงับอัคคีภัยและทบทวนตามระยะเวลาที่เหมาะสม
8.3 มีกระบวนการในการจัดการความเสี่ยงด้านอัคคีภัย
8.4 มีคู่มือระบบการป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล
8.5 มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยของโรงพยาบาล
8.6 มีการจัดการฝึกซ้อมดับเพลิงขั้นต้น และอพยพหนีไฟที่สอดคล้องกับกฎหมาย
8.7 มีการตรวจสอบ ทดสอบ บำรุงรักษาระบบป้องกันและระงับอัคคีภัยให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ
8.9 จัดเตรียมพื้นที่ หรือกำหนดจุดปลอดภัยในพื้นที่รักษาพยาบาลที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้สะดวก
8.10 จัดเตรียมพื้นที่จุดรวมพลภายนอกอาคารขณะเกิดอัคคีภัย
10.1 กำหนดหรือบ่งชี้บริเวณพื้นที่ที่มีรังสี มีเครื่องหมาย ป้ายเตือนอันตรายจากรังสี สัญญาณเตือนภัยที่สอดคล้องกับกฎหมายหรือมาตรฐาน ติดแสดงให้เห็นโดยชัดเจน
10.2 มีป้ายสัญลักษณ์ ป้ายเตือนภัยตามแบบมาตรฐานในบริเวณพื้นที่กำเนิดรังสี
10.3 มีเอกสารแสดงผลการตรวจสอบความปลอดภัยของรังสีจากหน่วยงานรับผิดชอบ
1.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบเรียกพยาบาล
1.2 มีคู่มือการใช้งานของระบบเรียกพยาบาล
1.3 มีแผนผังระบบเรียกพยาบาลที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบเรียกพยาบาล
1.4 มีการตรวจสอบระบบเรียกพยาบาล ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
1.6 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
1.7 มีอุปกรณ์สำหรับเรียกพยาบาลที่หัวเตียงผู้ป่วย ในห้องน้ำผู้ป่วย และห้องน้ำคนพิการ
2.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบวิทยุคมนาคม
2.2 มีคู่มือการใช้งานระบบวิทยุคมนาคม
2.3 มีแผนผังโครงข่ายวิทยุคมนาคมที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบวิทยุคมนาคม
2.4 มีการตรวจสอบระบบวิทยุคมนาคม ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
2.6 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
2.7 ผู้ใช้งานวิทยุคมนาคมต้องมีบัตรประจำตัวผู้ใช้และบัตรประจำตัวเครื่องวิทยุคมนาคม
2.8 การมีใช้เครื่องวิทยุคมนาคม และตั้งสถานีวิทยุคมนาคม เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด
5.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
5.2 มีคู่มือการใช้งานระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
5.3 มีแผนผังระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิดที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
5.4 การตรวจสอบระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
5.5 มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง
5.6 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
5.7 มีห้องควบคุมหลักและมีระเบียบวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการเข้าถึงข้อมูล
6.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล
6.2 มีคู่มือการใช้งานระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล
6.3 มีแผนผังระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล
6.4 มีการตรวจสอบระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
6.5 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
6.6 มีระเบียบวิธีปฏิบัติการเข้าใช้เครือข่ายสื่อสารข้อมูล
7.1 มีผู้รับผิดชอบ ด้านระบบโทรทัศน์ภายใน
7.2 มีคู่มือการใช้งานระบบโทรทัศน์ภายใน
7.3 มีแผนผังระบบโทรทัศน์ภายในที่เป็นปัจจุบันและมีบัญชีครุภัณฑ์ระบบโทรทัศน์ภายใน
7.4 มีการตรวจสอบระบบโทรทัศน์ภายใน ให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
7.5 มีระบบจ่ายไฟฟ้าสำรอง
7.6 มีแผนและประวัติการบำรุงรักษา
4.1 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีพฤติกรรมสุขภาพ (HB) หรือความรอบรู้ทางสุขภาพ (HL) ในปัญหาสุขภาพที่สำคัญเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น
4.2 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านกระบวนการสุขศึกษามีภาวะสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น
4.3 การเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ
4.4 งานวิจัย หรือ นวัตกรรม หรือ ต้นแบบ หรือผลงานเด่นที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินงานสุขศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
2.1 มีกระบวนการประเมินและให้คะแนนความเสี่ยงของระบบสารสนเทศอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย
2.3 มีการดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยง
2.4 มีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินการจัดการความเสี่ยง และวิเคราะห์ผลการประเมิน จัดทำเป็นรายงาน
2.5 มีการนำผลการประเมินการดำเนินการจัดการความเสี่ยงมาปรับแผนการจัดการความเสี่ยงให้ดีขึ้น
3.1 มีการจัดทำนโยบายและระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยในระบบ IT
3.4 มีการประชาสัมพันธ์นโยบายและระเบียบปฏิบัติให้บุคลากรทุกคนได้รับทราบ
3.5 มีการตรวจสอบว่าบุคลากรได้รับทราบ เข้าใจ ยอมรับ และปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติด้านความมั่นคงปลอดภัยอย่างเคร่งครัด
3.6 มีการประเมินผลการปฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติและนำผลการประเมินมาปรับกระบวนการบังคับใช้ระเบียบปฏิบัติต่อไป
4.2 มีการจัดทำแผนเพิ่มหรือจัดการศักยภาพของทรัพยากร ด้าน Hardware, Software, Network
4.4 มีการดำเนินการตามแผนเพิ่มสมรรถนะและศักยภาพ (Hardware, software, network) และ มีการประเมิน วิเคราะห์ผลการดำเนินตามแผน
4.5 มีการนำผลการวิเคราะห์มาปรับปรุงแผนเพิ่มศักยภาพให้ดีขึ้น
5.1 มีการจัดการ Data Center ของโรงพยาบาลให้มีความมั่นคงปลอดภัย
5.2 ห้อง สถานที่ และสิ่งแวดล้อมต้องจัดให้มีความปลอดภัยจากบุคคลภายนอก
5.5 มีการวิเคราะห์ความเหมาะสม มาตรฐาน ความเสี่ยงและความคุ้มค่าในการเลือกใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์เครือข่าย ห้อง Data Center